top of page

e-portfolio
สรุปองค์ความรู้สุขศึกษาเเละพละศึกษา
หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1–3 ชุดนี้ จัดทำ ขึ้นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สำ หรับนักเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โดยมีเปาหมายให้นักเรียนและครูใช้เปนสื่อในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนา นักเรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดที่กำ หนดไว้ในหลักสูตร และสาระการเรียนรู้ แกนกลาง พัฒนานักเรียนให้มีสมรรถนะสำ คัญตามที่ต้องการทั้งในด้านการสื่อสาร การคิด การแก้ปญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี ตลอดจนพัฒนานักเรียนให้มีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ทำ ประโยชน์ให้สังคม เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมไทยและสังคมโลก ได้อย่างมีความสุข ในการจัดทำ หนังสือเรียนชุดนี้ คณะผู้จัดทำ ซึ่งเปนผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาและการพัฒนา สื่อการเรียนรู้ ได้ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 อย่างลึกซึ้ง ทั้งด้านวิสัยทัศน์ หลักการ จุดหมาย สมรรถนะสำ คัญของนักเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของสาระการเรียนรู้แกนกลาง แนวทางการจัดการเรียนรู้ แล้วจึง นำ องค์ความรู้ที่ได้มาออกแบบหน่วยการเรียนรู้ แต่ละหน่วยการเรียนรู้ประกอบด้วยตัวชี้วัดชั้นป ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ ประโยชน์จากการเรียน ลองคิด ลองตอบ (คำ ถามนำ สู่การเรียนรู้) เนื้อหาสาระแต่ละเรื่องแต่ละหัวข้อ รู้ไหมว่า (เรื่องน่ารู้/ความรู้เสริมหรือเกร็ดความรู้) แหล่งสืบค้น ความรู้ เรียนรู้...สู่...ปฏิบัติ (กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้) บทสรุป กิจกรรมเสนอแนะ โครงงาน การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำ วัน คำ ถามประจำ หน่วยการเรียนรู้ นอกจากนี้ท้ายเล่มยังมีบรรณานุกรม และอภิธานศัพท์ ซึ่งองค์ประกอบของหนังสือเรียนเหล่านี้จะช่วยส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ อย่างครบถ้วนตามหลักสูตร การเสนอเนื้อหาและออกแบบกิจกรรมในหนังสือเรียนชุดนี้ ได้จัดทำ ขึ้นโดยยึดแนวคิด การจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นผู้เรียนเปนสำ คัญ โดยคำ นึงถึงศักยภาพของนักเรียน เน้นการเรียนรู้ แบบองค์รวมบนพื้นฐานของการบูรณาการแนวคิดทฤษฎีทางการเรียนรู้ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย เช่น การเรียนรู้โดยใช้สมองเปนฐาน พหุปญญา การใช้คำ ถามแบบหมวกความคิด 6 ใบ การ เรียนรู้แบบประสบการณ์และที่เน้นการปฏิบัติ การเรียนรู้แบบโครงงาน เปนต้น จัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการ เน้นให้นักเรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง มุ่งพัฒนาการคิด และพัฒนาการ เรียนรู้ที่สอดคล้องกับพัฒนาการทางสมองและพัฒนาการทางร่างกายของนักเรียน อันจะช่วยให้ นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างสมบูรณ์และสามารถนำ ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำ วันได้ หวังเปนอย่างยิ่งว่า หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 1–3 ชุดนี้จะช่วยสนับสนุนให้นักเรียนได้พัฒนาความรู้ด้านทักษะกระบวนการทางสุขศึกษา และพลศึกษาได้เปนอย่างดี และสนับสนุนการปฏิรูปการเรียนรู้ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 คณะผู้จัดทำ คําชี้แจง หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1–3 แต่ละเล่ม ได้ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ให้แต่ละหน่วยการเรียนรู้ประกอบด้วย 1. ตัวชี้วัดชั้นปี เปนเปาหมายในการพัฒนานักเรียนแต่ละชั้นป ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐาน การเรียนรู้ มีรหัสของมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปกำ กับไว้หลังตัวชี้วัดชั้นป เช่น พ 1.1 ม. 2/1 (รหัสแต่ละตัวมีความหมายดังนี้ พ คือ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 1.1 คือ สาระที่ 1 มาตรฐานการเรียนรู้ข้อที่ 1 ม. 2/1 คือ ตัวชี้วัดชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ข้อที่ 1) 2. ผังมโนทัศนสาระการเรียนรู้ เปนการจัดระเบียบและรวบรวมเนื้อหาแต่ละหน่วย พร้อมแสดงความเชื่อมโยงของเนื้อหาในสาระนั้น ๆ ไว้ด้วย เพื่อสื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจนขึ้น นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย เปนผังมโนทัศน์ที่แสดงขอบข่ายเนื้อหาในแต่ละหน่วย การเรียนรู้ โดยมีชื่อหน่วยการเรียนรู้ หัวข้อหลักและหัวข้อรองของเนื้อหาในหน่วยการเรียนรู้ นั้น ๆ 3. ประโยชนจากการเรียน นำ เสนอไว้เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนนำ ความรู้ ทักษะจากการเรียน ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำ วัน 4. ลองคิด ลองตอบ (คำ ถามนำ สูการเรียนรู้) เปนคำ ถามหรือสถานการณ์เพื่อกระตุ้น ให้นักเรียนเกิดความสงสัยและสนใจที่จะค้นหาคำ ตอบ 5. เนื้อหา เปนเนื้อหาที่ตรงตามสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดชั้นป และสาระการเรียนรู้ แกนกลาง โดยแบ่งเนื้อหาเปนช่วง ๆ แล้วแทรกเรียนรู้...สู่...ปฏิบัติที่พอเหมาะกับการเรียน รวมทั้ง มีการนำ เสนอด้วยภาพ ตาราง แผนภูมิ คำ สำ คัญหรือคำ หลักในหน่วยการเรียนรู้นั้นจะแทรกอยู่ใน เนื้อหาโดยการเน้นสีและรูปแบบอักษรให้แตกต่างจากตัวพื้น คำ สำ คัญนี้จะใช้ตัวเน้นเฉพาะคำ ที่ปรากฏคำ แรกในเนื้อหา ไม่เน้นคำ ที่เปนหัวข้อและแผนที่ความคิด เพื่อเปนสื่อให้นักเรียนสร้าง ความคิดรวบยอดและเกิดความเข้าใจที่คงทน 6. รู้ไหมวา (เรื่องนารู้/ความรู้เสริมหรือเกร็ดความรู้) เปนความรู้เพื่อเพิ่มพูนให้นักเรียนมี ความรู้กว้างขวางขึ้น โดยคัดสรรเฉพาะเรื่องที่นักเรียนควรรู้ 7. แหลงสืบค้นความรู้ เปนแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ตามความเหมาะสม เช่น เว็บไซต์ หนังสือ สถานที่ หรือบุคคล เพื่อให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับเรื่องที่เรียน 8. เรียนรู้...สู...ปฏิบัติ (กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้) เปนกิจกรรมที่กำ หนดไว้เมื่อจบเนื้อหา แต่ละตอนหรือแต่ละหัวข้อ เปนกิจกรรมที่หลากหลาย ใช้แนวคิดทฤษฎีต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับ เนื้อหา เหมาะสมกับวัยและพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของนักเรียน สะดวกในการปฏิบัติ กระตุ้น ให้นักเรียนได้คิด และส่งเสริมให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม มีคำ ถามเปนการตรวจสอบผลการเรียนรู้ ของนักเรียน ได้ออกแบบกิจกรรมไว้อย่างหลากหลาย และมีมากเพียงพอที่จะพัฒนาให้นักเรียน เกิดการเรียนรู้ตามเปาหมายของหลักสูตร 9. บทสรุป ได้จัดทำ บทสรุปไว้เปนผังมโนทัศน์เพื่อเปนการทบทวนความรู้หรือการเรียนรู้ กว้าง ๆ อย่างรวดเร็ว 10. กิจกรรมเสนอแนะ เปนกิจกรรมบูรณาการทักษะที่รวมหลักการและความคิดรวบยอด ในเรื่องต่าง ๆ ที่นักเรียนได้เรียนรู้ไปแล้วมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติกิจกรรม 11. โครงงาน เปนข้อเสนอแนะในการกำ หนดให้นักเรียนปฏิบัติโครงงาน โดยเสนอแนะ หัวข้อโครงงานและแนวทางการปฏิบัติโครงงานที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ชั้นปของหน่วยการเรียนรู้นั้น เพื่อพัฒนาทักษะการคิด การวางแผน และการแก้ปญหาของนักเรียน 12. การประยุกตใช้ในชีวิตประจำ วัน เปนกิจกรรมที่เสนอแนะให้นักเรียนได้นำ ความรู้ ทักษะ ในการประยุกต์ความรู้ในหน่วยการเรียนรู้นั้นไปใช้ในชีวิตประจำ วัน 13. คำ ถามประจำ หนวยการเรียนรู้ เปนคำ ถามแบบอัตนัยที่มุ่งถามเพื่อทบทวนการเรียนรู้ ของนักเรียน 14. ท้ายเลม ประกอบด้วยบรรณานุกรมและอภิธานศัพท์ 14.1 บรรณานุกรม เปนรายชื่อหนังสือ เอกสาร หรือเว็บไซต์ที่ใช้ค้นคว้าอ้างอิงประกอบ การเขียน 14.2 อภิธานศัพท เปนการนำ คำ สำ คัญที่แทรกอยู่ตามเนื้อหามาอธิบายให้ความหมาย และจัดเรียงตามลำ ดับตัวอักษร เพื่อความสะดวกในการค้นคว้า
bottom of page